ป่ารอยต่อ 5 จังหวัด กิจกรรม
ReadyPlanet.com
dot
มูลนิธิอนุรักษ์ป่ารอยต่อ ๕ จังหวัด
dot
bulletหน้าหลัก
bulletแนะนำและประชาสัมพันธ์
bulletกิจกรรมของมูลนิธิฯ
bulletหน้ารวมบทความ
bulletวารสารมณีบูรพา
bulletห้องแสดงภาพ
bulletบทความที่น่าสนใจ
bulletเกี่ยวกับเรา
bulletเบอร์โทรศัพท์หน่วยงาน
dot
คณะกรรมการ
dot
bulletประธานกรรมการ
bulletที่ปรึกษามูลนิธิฯ
bulletคณะกรรมการ
bulletคณะทำงานฝ่ายเลขานุการ
bulletคณะอนุกรรมการฝ่ายหารายได้
bulletคณะอนุกรรมการฝ่ายสวัสดิการ
bulletคณะอนุกรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์ และจัดกิจกรรม
bulletคณะอนุกรรมการฝ่ายส่งเสริมคุณภาพชีวิตราษฎร
bulletคณะอนุกรรมการฝ่ายอนุรักษ์ทรัพยากรดินและน้ำ
bulletคณะอนุกรรมการฝ่ายอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์ป่า
bulletคณะอนุกรรมการฝ่ายอนุรักษ์ทรัพยากรพันธุ์พืช
bulletคณะอนุกรรมการฝ่ายตรวจสอบและประเมินผล
bullet คณะอนุกรรมการฝ่ายกฎหมาย
bulletคณะอนุกรรมการฝ่ายงบประมาณ
dot
เวปที่น่าสนใจ
dot
bulletโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
bulletกองทัพบก
bulletกระทรวงพลังงาน
bulletกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
bulletกรมป่าไม้
bulletกรมอุทยานแห่งชาติฯ
bulletกรมควบคุมมลพิษ
bulletมูลนิธิอนุรักษ์ป่าตะวันตก
bulletธรรมชาติในป่ารอยต่อ 5 จังหวัด
dot
วิดีโอคลิป
dot
bulletช้างปล้นอาหาร
bulletคนกับป่า
bulletช้างที่เขาใหญ่
bulletต้นกำเนิดแม่น้ำชี๑
bulletต้นกำเนิดแม่น้ำชี๒
bulletต้นกำเนิดแม่น้ำชี๓
bulletต้นกำเนิดแม่น้ำชี๔
bulletต้นกำเนิดแม่น้ำชี๕
bulletต้นกำเนิดแม่น้ำชี๖
bulletต้นกำเนิดแม่น้ำชี๗
bulletต้นกำเนิดแม่น้ำชี๘
bulletต้นกำเนิดแม่น้ำชี๙
bulletทริปโหด ภูสอยดาว
bulletภูสอยดาว (ท่องเที่ยว)


เครือข่ายกาญจนาภิเษก
สถานีโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง ๕


กิจกรรม


ประชุมสามัญคณะกรรมการมูลนิธิฯ ประจำปี ๒๕๕๔

 

เมื่อวันพุธที่๙มีนาคม๒๕๕๔ มูลนิธิอนุรักษ์ป่ารอยต่อ๕จังหวัด จัดประสามัญคณะกรรมการ ประจำปี๒๕๕๔ ห้องประชุมมูลนิธิฯ โดยมีพลเอกประวิตร วงษ์สุวรรณ ประธานกรรมการมูลนิธิฯ เป็นประธานการประชุม

พิธีรับมอบไดอารี่พร้อมปฏิทินแบบแขวน จากนางชมชนก วงษ์ฐากร กรรมการผู้จัดการ อรุณการพิมพ์ จำกัด

พลเอกประวิตร วงษ์สุวรรณ  ประธานกรรมการมูลนิธิอนุรักษ์ป่ารอยต่อ ๕ จังหวัด เป็นประธานพิธีรับมอบไดอารี่พร้อมปฏิทินแบบแขวน จากนางชมชนก   วงษ์ฐากร กรรมการผู้จัดการ อรุณการพิมพ์ จำกัด ในฐานะอนุกรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์และจัดกิจกรรม มูลนิธิอนุรักษ์ป่ารอยต่อ ๕ จังหวัด โดยมีคณะกรรมการและอนุกรรมการ ร่วมพิธีรับมอบ เมื่อวันศุกร์ที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๕๓ เวลา ๐๘.๐๐ นาฬิกา ณ ห้องรับรองมูลนิธิอนุรักษ์ป่ารอยต่อ ๕ จังหวัด กรุงเทพมหานคร

รับมอบเงินบริจาคจาก นายอธิก์ วงเวียน กรรมการผู้จัดการ บริษัทอธิเทเลคอม จำกัด

เมื่อวันอาทิตย์ที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๓ เวลา ๐๗๓๐ นาฬิกาพลเอกประวิตร วงษ์สุวรรณ ประธานกรรมการมูลนิธิอนุรักษ์ป่ารอยต่อ ๕ จังหวัด รับมอบเงินบริจาคจาก นายอธิก์ วงเวียน กรรมการผู้จัดการ บริษัทอธิเทเลคอม จำกัด ในฐานะกรรมการของคณะอนุกรรมการฝ่ายหารายได้ มูลนิธิอนุรักษ์ป่ารอยต่อ ๕ จังหวัด จำนวน ๒๐๐,๐๐๐.- บาท (สองแสนบาทถ้วน) เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ของมูลนิธิฯ ต่อไป 

อวยพรวันคล้ายวันเกิดประธานกรรมการมูลนิธิฯ
นายสถิตย์ สวินทร กรรมการมูลนิธิอนุรักษ์ป่ารอยต่อ ๕ จังหวัด เป็นผู้แทนคณะกรรมการกล่าวอวยพร พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ ประธานกรรมการมูลนิธิอนุรักษ์ป่ารอยต่อ ๕ จังหวัด เนื่องในวันคล้ายวันเกิด  เมื่อ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๕๓ ณ บริเวณอาคารมูลนิธิอนุรักษ์ป่ารอยต่อ ๕ จังหวัด กรุงเทพมหานคร
............................
รับมอบผ้าห่มกันหนาว

เมื่อวันพุธที่ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ เวลา ๑๓.๓๐ พลเอก ประวิตร   วงษ์สุวรรณ ประธานกรรมการมูลนิธิอนุรักษ์ป่ารอยต่อ ๕ จังหวัด (ภาคตะวันออก)   รับมอบผ้าห่มกันหนาวจาก ดร.สุธี มีนชัยนันท์  ประธานหอการค้าไทย จีน และ ดร.ไกรสร จันศิริ นายกสมาคมแต้จิ๋วแห่งประเทศไทย เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยหนาว จำนวน ๑,๐๐๐ ผืน โดยมีคณะกรรมการ ,อนุกรรมการ  ร่วมพิธีรับมอบ  ณ ห้องประชุมมูลนิธิอนุรักษ์ป่ารอยต่อ ๕ จังหวัด

รับมอบผ้าห่ม

 

เมื่อวันศุกร์ที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ เวลา ๑๓.๐๐ นาฬิกา พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ ประธานกรรมการมูลนิธิอนุรักษ์ป่ารอยต่อ ๕ จังหวัด(ภาคตะวันออก) รับมอบผ้าห่มกันหนาว จากคุณ ธีรอัศญ์ สีหสินอิทธ ประธานกรรมการบริษัทคอนสเทค กรุ๊ป จำกัด, คุณฉัตรเฉลิม เฉลิมชัยวัฒน์ ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำสำนักนายก และคุณธัชชญาณ์ณัช เจียรธนัทกานนท์ กรรมการผู้จัดการบริษัทแกรนด์ สตีล เซนเตอร์ จำกัด จำนวน ๑,๕๐๐ ผืน  เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ ณ  ห้องรับรองอาคารสำนักงานมูลนิธิอนุรักษ์ป่ารอยต่อ ๕ จังหวัด

 

สรุปผลการปฏิบัติงานฝ่ายจัดหารายได้๑
ตามรอยค้นหา"วัวแดง" ถิ่นอาศัยป่าใหญ่ปางสีดาarticle

ตามรอยคันหา " วัวแดง " ถิ่นอาศัยป่าใหญ่ปางสีดา.

จากปัญหาในปัจจุบันการลักลอบตัดไม้ทำลายป่า และการลักลอบล่าสัตว์ ตลอดจนการเปลี่ยนพื้นที่อาศัยของสัตว์ป่าไปเป็นพื้นที่อยู่อาศัย พื้นที่เกษตรกรรม รวมไปถึงอ่างเก็บน้ำ หรือเขื่อนขนาดใหญ่ ส่งผลให้สัตว์ป่าหลายชนิดไม่มีพื้นที่อยู่อาศัย หรือถูกล่าจนหมดไป

 

วารสารมณีบูรพา ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๑๖ ประจำเดือนเมษายน - มิถุนายน ๒๕๕๓

เพิ่มทุนการศึกษา ๓,๐๐๐ บาท ประกันชีวิตกลุ่ม

ช้างตายทั้งตัวเอา ใบบัวมาปิด

แนวทางการแก้ปัญหาการเสียชีวิตของสัตว์

คุ้มค่ากับงบประมาณ

กฎหมาย ป่าไม้ เขาใหญ่

ช้างป่าออกนอก

ตำนาน นกกรงหัวจุก

นกกรงหัวจุก  ที่เรา ๆ ท่าน ๆ นำมาแข่งขันประชันเสียงกันนั้น มีตำนานเล่าสืบต่อกันมา  และมีหนังสือบางเล่ม ได้เขียนเอาไว้ว่าชนชาติแรกที่นำนกปรอดหัวจุมาเลี้ยงคือชาวจีน  เมื่อประมาณ พ.ศ. 2410  คนจีนได้นำนกปรอดหัวจุกมาเลี้ยงแทนนกโรบิ้น ที่คนจีนส่วนใหญ่นิยมนำมาใส่กรงพาเดินไปตามถนน หรือนั่งร้านกาแฟ หรือไปหาเพื่อน ๆ ที่รู้ใจและเลี้ยงนกเหมือนกัน และเจ้านกโรบิ้น  มักจะเป็นนกที่ตกใจง่ายและตื่นคน  บางครั้งตกใจมากจนถึงขั้นช็อคตายคากรง  ดังนั้นจึงเป็นเหตุให้ชาวจีนหันมาเลี้ยงนกปรอดหัวจุกหรือนกหัวจุกกันอย่างแพร่หลาย  ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา นกกรงหัวจุกมีถิ่นอาศัยอยู่ในแถบประเทศที่มีอากาศร้อนชื้น  ในทวีปเอเชีย พบได้ ประเทศจีน มานกกรงหัวจุก  ที่เรา ๆ ท่าน ๆ นำมาแข่งขันประชันเสียงกันนั้น มีตำนานเล่าสืบต่อกันมา  และมีหนังสือบางเล่ม ได้เขียนเอาไว้ว่าชนชาติแรกที่นำนกปรอดหัวจุมาเลี้ยงคือชาวจีน  เมื่อประมาณ พ.ศ. 2410  คนจีนได้นำนกปรอดหัวจุกมาเลี้ยงแทนนกโรบิ้น ที่คนจีนส่วนใหญ่นิยมนำมาใส่กรงพาเดินไปตามถนน หรือนั่งร้านกาแฟ หรือไปหาเพื่อน ๆ ที่รู้ใจและเลี้ยงนกเหมือนกัน และเจ้านกโรบิ้น  มักจะเป็นนกที่ตกใจง่ายและตื่นคน  บางครั้งตกใจมากจนถึงขั้นช็อคตายคากรง  ดังนั้นจึงเป็นเหตุให้ชาวจีนหันมาเลี้ยงนกปรอดหัวจุกหรือนกหัวจุกกันอย่างแพร่หลาย  ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา นกกรงหัวจุกมีถิ่นอาศัยอยู่ในแถบประเทศที่มีอากาศร้อนชื้น  ในทวีปเอเชีย พบได้ ประเทศจีน มาเลเซีย อินโดนีเซีย อินเดีย เวียดนาม กัมพูชา ลาว ส่วนใหญ่ เราจะพบนกชนิดนี้ได้ทั่วทุกภาคของประเทศ  นกกรงหัวจุกเป็นที่นิยมของคนภาคใต้มายาวนาน  โดยได้รับอิทธิพลมาจากประเทศเพื่อนบ้านอย่าง อินโดนีเซีย  สิงคโปร์ มาเลเซีย  นั่นคือการแข่งขันประชันเสียงเพลงที่มีลีลาการร้องของสำนวนเสียงในนกแต่ละตัวว่าใครจะเหนือกว่ากัน  แต่ในสมัยก่อนของภาคใต้ตั้งแต่จังหวัดสตูล  สงขลา  ยะลา  ปัตตานี  นราธิวาส  กระบี่  นครศรีธรรมราช  นิยมนำนกกรงหัวจุกมาชนกันหรือตีกันเหมือนกับการชนไก่  คือ  เอานกมาเทียบขนาดให้ใกล้เคียงกันแล้วจับใส่กรงกลางที่มีขนาดใหญ่แล้วปล่อยให้นกทั้งสองตัวไล่จิกตีกันภายในกรงจนกว่าจะรู้แพ้รู้ชนะ  สาเหตุที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะว่า  นกปรอดหัวจุก  มีนิสัยดุร้ายและชอบไล่จิกและตีกันตามธรรมชาติอยู่แล้ว

หน้า 8/14
[ก่อนหน้า]   1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14  [ถัดไป]
[Go to top]