ป่ารอยต่อ 5 จังหวัด ตำนาน นกกรงหัวจุก
ReadyPlanet.com
dot
มูลนิธิอนุรักษ์ป่ารอยต่อ ๕ จังหวัด
dot
bulletหน้าหลัก
bulletแนะนำและประชาสัมพันธ์
bulletกิจกรรมของมูลนิธิฯ
bulletหน้ารวมบทความ
bulletวารสารมณีบูรพา
bulletห้องแสดงภาพ
bulletบทความที่น่าสนใจ
bulletเกี่ยวกับเรา
bulletเบอร์โทรศัพท์หน่วยงาน
dot
คณะกรรมการ
dot
bulletประธานกรรมการ
bulletที่ปรึกษามูลนิธิฯ
bulletคณะกรรมการ
bulletคณะทำงานฝ่ายเลขานุการ
bulletคณะอนุกรรมการฝ่ายหารายได้
bulletคณะอนุกรรมการฝ่ายสวัสดิการ
bulletคณะอนุกรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์ และจัดกิจกรรม
bulletคณะอนุกรรมการฝ่ายส่งเสริมคุณภาพชีวิตราษฎร
bulletคณะอนุกรรมการฝ่ายอนุรักษ์ทรัพยากรดินและน้ำ
bulletคณะอนุกรรมการฝ่ายอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์ป่า
bulletคณะอนุกรรมการฝ่ายอนุรักษ์ทรัพยากรพันธุ์พืช
bulletคณะอนุกรรมการฝ่ายตรวจสอบและประเมินผล
bullet คณะอนุกรรมการฝ่ายกฎหมาย
bulletคณะอนุกรรมการฝ่ายงบประมาณ
dot
เวปที่น่าสนใจ
dot
bulletโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
bulletกองทัพบก
bulletกระทรวงพลังงาน
bulletกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
bulletกรมป่าไม้
bulletกรมอุทยานแห่งชาติฯ
bulletกรมควบคุมมลพิษ
bulletมูลนิธิอนุรักษ์ป่าตะวันตก
bulletธรรมชาติในป่ารอยต่อ 5 จังหวัด
dot
วิดีโอคลิป
dot
bulletช้างปล้นอาหาร
bulletคนกับป่า
bulletช้างที่เขาใหญ่
bulletต้นกำเนิดแม่น้ำชี๑
bulletต้นกำเนิดแม่น้ำชี๒
bulletต้นกำเนิดแม่น้ำชี๓
bulletต้นกำเนิดแม่น้ำชี๔
bulletต้นกำเนิดแม่น้ำชี๕
bulletต้นกำเนิดแม่น้ำชี๖
bulletต้นกำเนิดแม่น้ำชี๗
bulletต้นกำเนิดแม่น้ำชี๘
bulletต้นกำเนิดแม่น้ำชี๙
bulletทริปโหด ภูสอยดาว
bulletภูสอยดาว (ท่องเที่ยว)


เครือข่ายกาญจนาภิเษก
สถานีโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง ๕


ตำนาน นกกรงหัวจุก

 

นกกรงหัวจุก  ที่เรา ๆ ท่าน ๆ นำมาแข่งขันประชันเสียงกันนั้น มีตำนานเล่าสืบต่อกันมา  และมีหนังสือบางเล่ม ได้เขียนเอาไว้ว่าชนชาติแรกที่นำนกปรอดหัวจุมาเลี้ยงคือชาวจีน  เมื่อประมาณ พ.ศ. 2410  คนจีนได้นำนกปรอดหัวจุกมาเลี้ยงแทนนกโรบิ้น ที่คนจีนส่วนใหญ่นิยมนำมาใส่กรงพาเดินไปตามถนน หรือนั่งร้านกาแฟ หรือไปหาเพื่อน ๆ ที่รู้ใจและเลี้ยงนกเหมือนกัน และเจ้านกโรบิ้น  มักจะเป็นนกที่ตกใจง่ายและตื่นคน  บางครั้งตกใจมากจนถึงขั้นช็อคตายคากรง  ดังนั้นจึงเป็นเหตุให้ชาวจีนหันมาเลี้ยงนกปรอดหัวจุกหรือนกหัวจุกกันอย่างแพร่หลาย  ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา นกกรงหัวจุกมีถิ่นอาศัยอยู่ในแถบประเทศที่มีอากาศร้อนชื้น  ในทวีปเอเชีย พบได้ ประเทศจีน มานกกรงหัวจุก  ที่เรา ๆ ท่าน ๆ นำมาแข่งขันประชันเสียงกันนั้น มีตำนานเล่าสืบต่อกันมา  และมีหนังสือบางเล่ม ได้เขียนเอาไว้ว่าชนชาติแรกที่นำนกปรอดหัวจุมาเลี้ยงคือชาวจีน  เมื่อประมาณ พ.ศ. 2410  คนจีนได้นำนกปรอดหัวจุกมาเลี้ยงแทนนกโรบิ้น ที่คนจีนส่วนใหญ่นิยมนำมาใส่กรงพาเดินไปตามถนน หรือนั่งร้านกาแฟ หรือไปหาเพื่อน ๆ ที่รู้ใจและเลี้ยงนกเหมือนกัน และเจ้านกโรบิ้น  มักจะเป็นนกที่ตกใจง่ายและตื่นคน  บางครั้งตกใจมากจนถึงขั้นช็อคตายคากรง  ดังนั้นจึงเป็นเหตุให้ชาวจีนหันมาเลี้ยงนกปรอดหัวจุกหรือนกหัวจุกกันอย่างแพร่หลาย  ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา นกกรงหัวจุกมีถิ่นอาศัยอยู่ในแถบประเทศที่มีอากาศร้อนชื้น  ในทวีปเอเชีย พบได้ ประเทศจีน มาเลเซีย อินโดนีเซีย อินเดีย เวียดนาม กัมพูชา ลาว ส่วนใหญ่ เราจะพบนกชนิดนี้ได้ทั่วทุกภาคของประเทศ  นกกรงหัวจุกเป็นที่นิยมของคนภาคใต้มายาวนาน  โดยได้รับอิทธิพลมาจากประเทศเพื่อนบ้านอย่าง อินโดนีเซีย  สิงคโปร์ มาเลเซีย  นั่นคือการแข่งขันประชันเสียงเพลงที่มีลีลาการร้องของสำนวนเสียงในนกแต่ละตัวว่าใครจะเหนือกว่ากัน  แต่ในสมัยก่อนของภาคใต้ตั้งแต่จังหวัดสตูล  สงขลา  ยะลา  ปัตตานี  นราธิวาส  กระบี่  นครศรีธรรมราช  นิยมนำนกกรงหัวจุกมาชนกันหรือตีกันเหมือนกับการชนไก่  คือ  เอานกมาเทียบขนาดให้ใกล้เคียงกันแล้วจับใส่กรงกลางที่มีขนาดใหญ่แล้วปล่อยให้นกทั้งสองตัวไล่จิกตีกันภายในกรงจนกว่าจะรู้แพ้รู้ชนะ  สาเหตุที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะว่า  นกปรอดหัวจุก  มีนิสัยดุร้ายและชอบไล่จิกและตีกันตามธรรมชาติอยู่แล้ว
 การแข่งขันนกกรงหัวจุกได้มาเปลี่ยนแปลงไปเมื่อประมาณปี  พ.ศ.2515  เพราะว่าชาวจังหวัดสงขลา  มีแนวความคิดที่จะเปลี่ยนจากการตีกันมาเป็นแบบแข่งขันประชันเสียง  โดยเอาแบบมาจากการแข่งขันของนกเขาชวา คือนำนกป่าที่ต่อมาได้นำมาเลี้ยงและฝึกให้เกิดความเชื่องกับคนเลี้ยง หรือเชื่องกับผู้ที่เป็นเจ้าของพร้อมกับฝึกให้นกมีความสามารถในการร้องในลีลาต่าง ๆ ตามแต่ที่นกในแต่ละตัวจะทำได้  และผู้เล่นนกกรงหัวจุกก็เริ่มเปลี่ยนการละเล่นที่นำนกมาตีกัน มาเป็นอย่างเดียวกันกับนกเขาชวา คือการเล่นฟังเสียงอันไพเราะของนก  จากนั้นการแข่งขันประชันเสียงของนกกรงหัวจุกก็เริ่มมีผู้นิยมมากขึ้นเรื่อย ๆ จึงได้จัดให้มีการแข่งขันขึ้นอย่างเป็นทางการ  เมื่อปี พ.ศ. 2519  ที่สนามบริเวณหลังสถานีรถไฟเมืองหาดใหญ่  จังหวัดสงขลา  ซึ่งในการจัดครั้งนั้นถือว่าเป็นรายการใหญ่ที่สุดในยุคนั้น  และได้ยกเลิกการแข่งขันนกกรงหัวจุกในแบบตีกัน ต่อมาเมื่อประมาณ พ.ศ. 2520  ทางจังหวัดนครศรีธรรมราช  ได้จัดให้มีการรวมกลุ่มผู้เลี้ยงนกกรงหัวจุก  โดยจัดตั้งขึ้นเป็นชมรม  ซึ่งทำให้ทุกวันนี้มีชมรมต่าง ๆ เกิดขึ้นอย่างมากมาย
 กรุงเทพมหานคร  ได้มีการเล่นนกกรงหัวจุก  เมื่อประมาณ พ.ศ. 2524  โดยมีกลุ่มคนทางภาคใต้นำเอากีฬาชนิดนี้เข้ามาเผยแพร่ให้เป็นที่รู้จักและได้จัดให้มีการแข่งขันขึ้น  เป็นครั้งแรกที่ตลอดสวนจตุจักร และนับตั้งแต่นั้นมากระแสความนิยมแข่งขันประชันเสียงของนกกรงหัวจุกก็ได้รับความนิยมสืบมาจนถึงปัจจุบัน
สายพันธุ์ปรอด
 นกกรงหัวจุก  มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า  นกปรอดหัวโขนเคราแดง  หรือนกพิชหลิว  ชื่อเรียกทางวิทยาศาสตร์ว่า  Pycnonotus  Jocosus  เป็นนกที่มีการคุ้มครอง  ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า  พ.ศ. 2535 มาตรา 17  ให้เป็นสัตว์ป่าชนิดที่เพาะพันธุ์ได้
 วงศ์สกุล (GENUS) ของนกปรอดมีมากมายหลายชนิด วงศ์นกปรอด (Family Pycnonotidae) เป็นนกที่มีชนิดมากที่สุด  ซึ่งในแต่ละชนิดก็มีเป็นจำนวนมาก  และที่ถูกค้นพบมากที่สุดคือประเทศฟิลิปปินส์  ส่วนในประเทศไทยมีรายงานการค้นพบนกปรอดทั้งหมด ประมาณ 36 ชนิด โดยที่ปรอดทั่วโลกมีประมาณ 109 ชนิด

นกปรอดหัวโขนเคราแดง
ชื่อสามัญ   Red-whiskered Bulbul
ลักษณะทั่วไป   มีลายขาวแดงที่ข้างแก้ม

นกปรอดหัวโขนก้นเหลือง
ชื่อสามัญ   Brown-brested Bulbulo

นกปรอดคอลาย
ชื่อสามัญ   Stripe-throated Bulbul

นกปรอดก้นแดง  หรือปรอดคางแพะ
ชื่อสามัญ   Black-capped Bulbul

นกปรอดหน้านวลก้นเหลืองของตาขาว
ชื่อสามัญ   Yellow-vented Bulbul

นกปรอดเหลืองหัวจุก
ชื่อสามัญ   Black-crested Bulbul

นกปรอดสวน
ชื่อสามัญ   Blanfords Bulbul

นกปรอดโอ่ง
ชื่อสามัญ   White-throated Bulbul

นกปรอดทอง
ชื่อสามัญ   Black-headed Bulbul

 นกปรอดหัวจุกที่นิยมนำมาแข่งขันกันนั้น  จะนิยมนำนกปรอดหัวโขนเคราแดง หรือที่ภาคใต้เรียกว่านกหัวจุก  ภาคเหนือนิยมเรียกว่านกปริ๊นจะหลิว หรือพิชหลิว  ส่วนในสายพันธุ์อื่น ๆ นั้นปัจจุบันยังไม่ปรากฏว่ามีการนำมาเลี้ยงเพื่อการแข่งขันประชันเสียงร้อง เช่นเดียวกับนกกรงหัวจุกแต่อย่างใด

ลักษณะทั่วไปของนกปรอดหัวโขนเคราแดง
 แก้มและคอจนถึงหน้าอกจะมีสีขาวและมีสีแดงเป็นเส้นอยู่ข้างหูลงมาถึงหน้าอกเหมือนเป็นเส้นแบ่งขนสีขาวกับสีดำที่มีอยู่ทั่วทั้งตัว ขนส่วนหัวจะรวมกันเป็นเหมือนหน่อตั้งอยู่บนหัวสูงขึ้นไปเหมือนหัวโขน ใต้ท้องมีขนสีขาว
 นกปรอดหัวโขนเคราแดง  หรือนกกรงหัวจุกนั้นทางภาคใต้นิยมเลี้ยงกันมายาวนานแล้ว  และสืบทอดกันมาชั่วลูกหลาน จากรุ่นหนึ่งไปสู่อีกรุ่นหนึ่ง  จนเรียกได้ว่าการเลี้ยงนกกรงหัวจุกเป็นวัฒนธรรมพื้นบ้าน หรือเป็นเกมกีฬาอย่างหนึ่งของคนภาคใต้ไปแล้ว  และไม่ปรากฏหลักฐานใด ๆ ว่าคนทางภาคใต้ เริ่มเลี้ยงมาตั้งแต่เมื่อใด  แต่มีหนังสือนกกรงหัวจุกเล่มหนึ่ง  โดยมีคุณศักดา  ท้าวสูงเนิน  เป็นบรรณาธิการ  ได้รวบรวมและเขียนเอาไว้ว่า
 การเริ่มเลี้ยงนกปรอด ประเทศสิงคโปร์  น่าจะเป็นชาติแรกที่นิยมเลี้ยงนกปรอดก่อนประเทศอื่น ๆ และได้ให้ความสำคัญกับนกชนิดนี้มากถึงกับเอารูปนกปรอดหัวโขนเคราแดงมาเป็นสัญลักษณ์ในการพิมพ์ธนบัตรใช้จ่ายภายในประเทศ  ดังนั้น  จึงขอสันนิษฐานว่าน่าจะเลี้ยงก่อนชาติอื่น ๆ
 ส่วนในประเทศไทยเริ่มมีการเลี้ยงนกกรงหัวจุกกันมานานแล้วประมาณว่าเกินกว่า 40 ปี มาจนถึงปัจจุบันนี้ ได้มีการพัฒนาการเลี้ยงและการแข่งขันประชันเสียงออกเป็นชนิดต่าง ๆ เช่นมีทั้งการแข่งขันประชันเสียงในประเภทนับดอก คือ ให้คะแนนตามที่นกร้องออกมาเป็นคำ คำละคะแนน ประเภทสากล ประเภทเสียงทอง และในปัจจุบันก็ไม่ปรากฏว่ามีการแข่งขันประเภทตีกัน
 การแข่งขันนกกรงหัวจุกได้รับการยอมรับว่าเป็นกีฬาชนิดหนึ่งที่มีผู้คนให้ความสนใจทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ  มีการจัดงานแข่งขันประชันเสียงกันทั่วประเทศ ไม่ว่าจะเป็นในกรุงเทพฯ ภาคกลาง ภาคเหนือ  ภาคอีสาน  ภาคใต้  ในแต่ละสัปดาห์จะมีรายการแข่งขันทั้งประเทศไทยไม่ต่ำกว่า 5 สนาม มีชมรมฯ ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับนกกรงหัวจุกทั่วประเทศนับเป็นร้อย ๆ ชมรมฯ และสิ่งที่ยิ่งใหญ่เหนือสิ่งอื่นใดก็คือ การได้รับการโปรดเกล้าฯ พระราชทานถ้วยเป็นรางวัลแก่ผู้ที่ชนะการแข่งขัน  มีตั้งแต่ถ้วยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ถ้วยของสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ  ซึ่งสร้างความปลาบปลื้มและเป็นเกียรติยศแก่วงศ์ตระกูลของผู้ที่ได้รับครอบครองถ้วยพระราชทาน วงการนกกรงหัวจุกจัดได้ว่าเป็นวงการที่ได้รับความนิยมจากคนไทยทั้งประเทศเป็นจำนวนมาก  และมีแนวโน้มว่าจะได้รับความนิยมแพร่ขยายมากขึ้น  มีการจัดรายการแข่งขันติดกันและต่อเนื่องตลอดทั้งปี  มีผู้ใหญ่ในบ้านเมืองให้การสนับสนุนหลายท่าน  ซึ่งส่งผลให้วงการกีฬานกกรงหัวจุกเป็นกีฬาที่สร้างความสนุกสนานและเป็นการสร้างความสามัคคีให้กับคนในชาติได้เป็นอย่างดี

จากเว็บ  noksiam.com

กฏหมายเกี่ยวกับนก
 ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.2535 กำหนดให้นกปรอดทั้ง 36 ชนิด  ที่พบในเมืองไทย  เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองประเภทนกที่ผู้ครอบครองต้องมีใบอนุญาตในการครอบครอง  ส่วนการประกวดนกปรอดหัวโขนนั้นต้องปฏิบัติตามประกาศกรมป่าไม้  เรื่องการประกวดแข่งขันนกปรอดหัวโขน  ลงวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2541  โดยอธิบดีกรมป่าไม้ที่ระบุว่า
 “ผู้ใดจะนำสัตว์ป่าคุ้มครอง  ชนิดนกปรอดหัวโขน หรือสัตว์ป่าอื่น ๆ เข้าประกวดแข่งขัน  จะต้องนำเอกสารการแจ้งการครอบครองตามมาตรา 66 หรือ 67  ซึ่งได้จดแจ้งต่อกรมป่าไม้แล้วภายในเดือนพฤษภาคม 2535 และต้องนำเอกสารดังกล่าวติดตัวสัตว์ป่าไปด้วยทุกครั้ง  และผู้ที่นำสัตว์ป่าไปเข้าประกวดแข่งขั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีชื่ออยู่ในเอกสารดังกล่าวข้างต้น  หรือผู้เข้าประกวดนำสัตว์ป่าคุ้มครองอื่นไปแข่งขัน  หรือมีการตกลงกันซื้อขายสัตว์ป่าคุ้มครองภายในสถานที่ประกวด จะมีความผิดตามมาตรา 19  และมาตรา 20  ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสี่ปี  หรือทั้งจำทั้งปรับไม่เกินสี่ปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”
เลเซีย อินโดนีเซีย อินเดีย เวียดนาม กัมพูชา ลาว ส่วนใหญ่ เราจะพบนกชนิดนี้ได้ทั่วทุกภาคของประเทศ  นกกรงหัวจุกเป็นที่นิยมของคนภาคใต้มายาวนาน  โดยได้รับอิทธิพลมาจากประเทศเพื่อนบ้านอย่าง อินโดนีเซีย  สิงคโปร์ มาเลเซีย  นั่นคือการแข่งขันประชันเสียงเพลงที่มีลีลาการร้องของสำนวนเสียงในนกแต่ละตัวว่าใครจะเหนือกว่ากัน  แต่ในสมัยก่อนของภาคใต้ตั้งแต่จังหวัดสตูล  สงขลา  ยะลา  ปัตตานี  นราธิวาส  กระบี่  นครศรีธรรมราช  นิยมนำนกกรงหัวจุกมาชนกันหรือตีกันเหมือนกับการชนไก่  คือ  เอานกมาเทียบขนาดให้ใกล้เคียงกันแล้วจับใส่กรงกลางที่มีขนาดใหญ่แล้วปล่อยให้นกทั้งสองตัวไล่จิกตีกันภายในกรงจนกว่าจะรู้แพ้รู้ชนะ  สาเหตุที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะว่า  นกปรอดหัวจุก  มีนิสัยดุร้ายและชอบไล่จิกและตีกันตามธรรมชาติอยู่แล้ว




กิจกรรม

มอบทุนการศึกษาประจําปี ๒๕๖๖
รับมอบถังบรรจุน้ําขนาด ๑,๕๐๐ ลิตร
โครงการฝึกอบรมราษฎรอาสาพิทักษ์ป่ารอยต่อ ๕ จังหวัด หลักสูตร “ป้องกันและ ดับไฟป่า”
กองบัญชาการป้องกันชายแดนจันทบุรีและตราด
หน่วยเฉพาะกิจทหารพรานนาวิกโยธิน
ข่าว ททบ.๕ เมื่อวันที่ ๖ มกราคม ๒๕๖๖
ข่าว ททบ.๕ เมื่อวันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๖๓
๒๔ เม.ย.๖๓ ตรวจคูกันช้างและมอบโดรน
ข่าว ททบ.๕ เมื่อวันที่ ๖ มีนาคม ๒๕๖๓
๖ มีนาคม ๒๕๖๓ ประชุมสามัญคณะกรรมการ ประจำปี ๒๕๖๒
๔ มีนาคม ๒๕๖๓ ซักซ้อมเพื่อเตรียมจัดการประชุมสามัญคณะกรรมการ ประจำปี ๒๕๖๒
๔ มีนาคม ๒๕๖๓ ประชุมวารสารมณีบูรพา ฉบับที่ ๕๔
๒๐ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ประชาสัมพันธ์ ทำความเข้าใจ และรับฟังปัญหาข้อขัดข้อง
๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ประชาสัมพันธ์ ทำความเข้าใจ และรับฟังปัญหาข้อขัดข้อง
ประชุมโครงการสนับสนุนยุทธศาสตร์มูลนิธิฯ ประจำปี ๒๕๖๓ เพิ่มเติม
ประชุมโครงการสนับสนุนยุทธศาสตร์มูลนิธิฯ ประจำปี ๒๕๖๓
ประชุมพิจารณาทุนการศึกษา และการประกันชีวิตกลุ่มเจ้าหน้าที่ ประจำปี ๒๕๖๓ ณ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ ๒ (ศรีราชา) อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี
พิธีมอบของขวัญ และอวยพรปีใหม่ให้กับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า ในพื้นที่ป่ารอยต่อ ๕ จังหวัด (ภาคตะวันออก)
พิธีมอบผ้าห่มกันหนาวให้กับประชาชน
พิธีเปิดโครงการฝึกอบรมราษฎรอาสาพิทักษ์ป่ารอยต่อ ๕ จังหวัด หลักสูตร "การป้องกันและดับไฟป่า" ของกองกำลังบูรพา
ตรวจการฝึกอบรม สจป.๙ ปราจีนบุรี
งานสำคัญของประธาน
รับมอบผ้าห่มกันหนาว
ตรวจเยี่ยมโครงการสนับสนุนยุทธศาสตร์มูลนิธิฯ
ร่วมประชุมคณะกรรมการ
รับมอบเงินบริจาค
มอบของขวัญปีใหม่ประจำปี ๒๕๖๑
การแข่งขันม้าการกุศล
ตรวจเยี่ยมมอบของขวัญและอวยพรปีใหม่ ประจำปี 2560
รับมอบเงินบริจาค
ตรวจเยี่ยมโครงการจัดการช้างป่าออกนอกพื้นที่ป่าอนุรักษ์
รับรางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม
ประชุมวารสารมณีบูรพา
รับมอบรถยนต์บรรทุกขนาด ๑ ตัน
รับมอบผืนผ้าใบ
ร่วมพิธีวันต้นไม้ประจำของชาติ พ.ศ.๒๕๕๘
รับมอบเงินบริจาค
ประชุมคณะทำงานเพื่อศึกษาถนนหมายเลข ๓๒๕๙
การมอบทุนการศึกษาประจำปี ๒๕๕๘
การประชุมสามัญคณะกรรมการประจำปี ๒๕๕๗
รับมอบระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์
รับมอบผ้าห่มและเงินบริจาค
อวยพรเนื่องในวาระดิถีขึ้นปีใหม่ 2558
มอบผ่้าห่มกันหนาวให้ประชาชนภาคเหนือ
รับมอบเงินบริจาค
รับมอบผ้าห่มกันหนาว
ถวายราชสดุดี ๕ ธันวามหาราช
ร่วมกิจกรรมประชุมเสวนา
รับมอบรถยนต์บรรทุกขนาด ๑ ตัน แบบขับเคลื่อน ๔ ล้อ
ร่วมงานเปิดตัวหนังสือชุด Hot Guys, Hot Mind หล่อนี้....ที่หัวใจ
รับมอบเงินบริจาค สมาคมราชกรีฑาสโมสร
รับมอบเงินบริจาค บริษัท เลิศพิพัฒน์วัฒนา จำกัด
มอบทุนการศึกษา ประจำปี ๒๕๕๗
รับมอบเงินบริจาค
ประชุมหน่วยที่เกี่ยวข้องโครงการขุดคูกั้นช้าง
การประชุมสามัญคณะกรรมการประจำปี ๒๕๕๖
มอบเงินประกันชีวิตกลุ่มให้กับญาติผู้เสียชีวิต
“ปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา มหาราชา”
การช่วยเหลือช้างป่า article
รับมอบรถยนต์
ปฏิทินปี ๒๕๕๕
ปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติ ๑๒ สิงหามหาราชินี
ปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติ ๑๒ สิงหามหาราชินี
พิธีมอบทุนการศึกษาประจำปี ๒๕๕* ให้กับบุตรเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ป่ารอยต่อ ๕ จังหวัด
พิธีมอบทุนการศึกษาประจำปี ๒๕๕๔ ให้กับบุตรเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ป่ารอยต่อ ๕ จังหวัด
ศูนย์พัฒนากีฬากองทัพบกสนับสนุนมูลนิธิฯ
พิธีตรวจเยี่ยม, มอบของขวัญ และอวยพรปีใหม่ ๒๕๕๔
พิธีถวายเครื่องราชสักการะ, ถวายราชสดุดีเฉลิมพระเกียรติและถวายพระพรชัยมงคล หน้าพระบรมสาทิสลักษณ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
มอบเงินประกันชีวิตกลุ่มให้กับเจ้าหน้าที่
ประชุมวิสามัญคณะกรรมการ ครั้งที่ ๑
ประชุมสามัญคณะกรรมการมูลนิธิฯ ประจำปี ๒๕๕๔
พิธีรับมอบไดอารี่พร้อมปฏิทินแบบแขวน จากนางชมชนก วงษ์ฐากร กรรมการผู้จัดการ อรุณการพิมพ์ จำกัด
รับมอบเงินบริจาคจาก นายอธิก์ วงเวียน กรรมการผู้จัดการ บริษัทอธิเทเลคอม จำกัด
อวยพรวันคล้ายวันเกิดประธานกรรมการมูลนิธิฯ
รับมอบผ้าห่มกันหนาว
รับมอบผ้าห่ม
สรุปผลการปฏิบัติงานฝ่ายจัดหารายได้๑
ตามรอยค้นหา"วัวแดง" ถิ่นอาศัยป่าใหญ่ปางสีดา article
วารสารมณีบูรพา ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๑๖ ประจำเดือนเมษายน - มิถุนายน ๒๕๕๓
กิจกรรม ๑๒ สิงหา พระบรมราชินีนาถ ประจำปี ๒๕๕๓
อาจารย์ของผม article
ไทยประสบความสำเร็จเพาะพันธุ์ "นกแว่นใต้ article
เส้นทางแหล่งสีสันตะวันออก
ทัศนคติของผู้คน article
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๒๕๙ article
ถวายผ้าพระกฐินพระราชทาน
การจัดสรรเวลาเพื่อพงไพร article
ภัยเงียบคุกคามสัตว์ป่าเขาอ่างฤาไน article
"ดินดี เพราะป่าปก" article
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาอ่างฤาไน article
ฆาตกรรมช้างป่า อ่างฤาไน article
รับมอบเงินบริจาค
รับบริจาคผ้าห่มกันหนาวจากผู้มีจิตศรัทธา
มอบของขวัญและอวยพรปีใหม่ให้กับหน่วยในพื้นที่ป่ารอยต่อ ๕ จังหวัด
ประชุมเตรียมการมอบของขวัญและอวยพรปีใหม่
โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า article
อวยพรเนื่องในโอกาสวันขึ้นปีใหม่
รับมอบผ้าห่มกันหนาว
ถวายราชสดุดี ๕ ธันวา มหาราช