ป่ารอยต่อ 5 จังหวัด กิจกรรม
ReadyPlanet.com
dot
มูลนิธิอนุรักษ์ป่ารอยต่อ ๕ จังหวัด
dot
bulletหน้าหลัก
bulletแนะนำและประชาสัมพันธ์
bulletกิจกรรมของมูลนิธิฯ
bulletหน้ารวมบทความ
bulletวารสารมณีบูรพา
bulletห้องแสดงภาพ
bulletบทความที่น่าสนใจ
bulletเกี่ยวกับเรา
bulletเบอร์โทรศัพท์หน่วยงาน
dot
คณะกรรมการ
dot
bulletประธานกรรมการ
bulletที่ปรึกษามูลนิธิฯ
bulletคณะกรรมการ
bulletคณะทำงานฝ่ายเลขานุการ
bulletคณะอนุกรรมการฝ่ายหารายได้
bulletคณะอนุกรรมการฝ่ายสวัสดิการ
bulletคณะอนุกรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์ และจัดกิจกรรม
bulletคณะอนุกรรมการฝ่ายส่งเสริมคุณภาพชีวิตราษฎร
bulletคณะอนุกรรมการฝ่ายอนุรักษ์ทรัพยากรดินและน้ำ
bulletคณะอนุกรรมการฝ่ายอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์ป่า
bulletคณะอนุกรรมการฝ่ายอนุรักษ์ทรัพยากรพันธุ์พืช
bulletคณะอนุกรรมการฝ่ายตรวจสอบและประเมินผล
bullet คณะอนุกรรมการฝ่ายกฎหมาย
bulletคณะอนุกรรมการฝ่ายงบประมาณ
dot
เวปที่น่าสนใจ
dot
bulletโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
bulletกองทัพบก
bulletกระทรวงพลังงาน
bulletกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
bulletกรมป่าไม้
bulletกรมอุทยานแห่งชาติฯ
bulletกรมควบคุมมลพิษ
bulletมูลนิธิอนุรักษ์ป่าตะวันตก
bulletธรรมชาติในป่ารอยต่อ 5 จังหวัด
dot
วิดีโอคลิป
dot
bulletช้างปล้นอาหาร
bulletคนกับป่า
bulletช้างที่เขาใหญ่
bulletต้นกำเนิดแม่น้ำชี๑
bulletต้นกำเนิดแม่น้ำชี๒
bulletต้นกำเนิดแม่น้ำชี๓
bulletต้นกำเนิดแม่น้ำชี๔
bulletต้นกำเนิดแม่น้ำชี๕
bulletต้นกำเนิดแม่น้ำชี๖
bulletต้นกำเนิดแม่น้ำชี๗
bulletต้นกำเนิดแม่น้ำชี๘
bulletต้นกำเนิดแม่น้ำชี๙
bulletทริปโหด ภูสอยดาว
bulletภูสอยดาว (ท่องเที่ยว)


เครือข่ายกาญจนาภิเษก
สถานีโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง ๕


กิจกรรม


ตำนาน นกกรงหัวจุก

นกกรงหัวจุก  ที่เรา ๆ ท่าน ๆ นำมาแข่งขันประชันเสียงกันนั้น มีตำนานเล่าสืบต่อกันมา  และมีหนังสือบางเล่ม ได้เขียนเอาไว้ว่าชนชาติแรกที่นำนกปรอดหัวจุมาเลี้ยงคือชาวจีน  เมื่อประมาณ พ.ศ. 2410  คนจีนได้นำนกปรอดหัวจุกมาเลี้ยงแทนนกโรบิ้น ที่คนจีนส่วนใหญ่นิยมนำมาใส่กรงพาเดินไปตามถนน หรือนั่งร้านกาแฟ หรือไปหาเพื่อน ๆ ที่รู้ใจและเลี้ยงนกเหมือนกัน และเจ้านกโรบิ้น  มักจะเป็นนกที่ตกใจง่ายและตื่นคน  บางครั้งตกใจมากจนถึงขั้นช็อคตายคากรง  ดังนั้นจึงเป็นเหตุให้ชาวจีนหันมาเลี้ยงนกปรอดหัวจุกหรือนกหัวจุกกันอย่างแพร่หลาย  ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา นกกรงหัวจุกมีถิ่นอาศัยอยู่ในแถบประเทศที่มีอากาศร้อนชื้น  ในทวีปเอเชีย พบได้ ประเทศจีน มานกกรงหัวจุก  ที่เรา ๆ ท่าน ๆ นำมาแข่งขันประชันเสียงกันนั้น มีตำนานเล่าสืบต่อกันมา  และมีหนังสือบางเล่ม ได้เขียนเอาไว้ว่าชนชาติแรกที่นำนกปรอดหัวจุมาเลี้ยงคือชาวจีน  เมื่อประมาณ พ.ศ. 2410  คนจีนได้นำนกปรอดหัวจุกมาเลี้ยงแทนนกโรบิ้น ที่คนจีนส่วนใหญ่นิยมนำมาใส่กรงพาเดินไปตามถนน หรือนั่งร้านกาแฟ หรือไปหาเพื่อน ๆ ที่รู้ใจและเลี้ยงนกเหมือนกัน และเจ้านกโรบิ้น  มักจะเป็นนกที่ตกใจง่ายและตื่นคน  บางครั้งตกใจมากจนถึงขั้นช็อคตายคากรง  ดังนั้นจึงเป็นเหตุให้ชาวจีนหันมาเลี้ยงนกปรอดหัวจุกหรือนกหัวจุกกันอย่างแพร่หลาย  ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา นกกรงหัวจุกมีถิ่นอาศัยอยู่ในแถบประเทศที่มีอากาศร้อนชื้น  ในทวีปเอเชีย พบได้ ประเทศจีน มาเลเซีย อินโดนีเซีย อินเดีย เวียดนาม กัมพูชา ลาว ส่วนใหญ่ เราจะพบนกชนิดนี้ได้ทั่วทุกภาคของประเทศ  นกกรงหัวจุกเป็นที่นิยมของคนภาคใต้มายาวนาน  โดยได้รับอิทธิพลมาจากประเทศเพื่อนบ้านอย่าง อินโดนีเซีย  สิงคโปร์ มาเลเซีย  นั่นคือการแข่งขันประชันเสียงเพลงที่มีลีลาการร้องของสำนวนเสียงในนกแต่ละตัวว่าใครจะเหนือกว่ากัน  แต่ในสมัยก่อนของภาคใต้ตั้งแต่จังหวัดสตูล  สงขลา  ยะลา  ปัตตานี  นราธิวาส  กระบี่  นครศรีธรรมราช  นิยมนำนกกรงหัวจุกมาชนกันหรือตีกันเหมือนกับการชนไก่  คือ  เอานกมาเทียบขนาดให้ใกล้เคียงกันแล้วจับใส่กรงกลางที่มีขนาดใหญ่แล้วปล่อยให้นกทั้งสองตัวไล่จิกตีกันภายในกรงจนกว่าจะรู้แพ้รู้ชนะ  สาเหตุที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะว่า  นกปรอดหัวจุก  มีนิสัยดุร้ายและชอบไล่จิกและตีกันตามธรรมชาติอยู่แล้ว

กิจกรรม ๑๒ สิงหา พระบรมราชินีนาถ ประจำปี ๒๕๕๓

พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ ประธานกรรมการมูลนิธิอนุรักษ์ป่ารอยต่อ ๕ จังหวัด เป็นประธานพิธีถวายเครื่องราชสักการะ ถวายราชสดุดีเฉลิมพระเกียรติ และถวายพระพรชัยมงคล หน้าพระบรมสาทิสลักษณ์ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ โดยมี ที่ปรึกษา, คณะกรรมการมูลนิธิฯ, ข้าราชการและผู้แทนเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ป่ารอยต่อ ๕ จังหวัด ร่วมพิธี เมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๓ เวลา ๐๗.๐๐ นาฬิกา ณ ลานเอนกประสงค์มูลนิธิอนุรักษ์ป่ารอยต่อ ๕ จังหวัด กรุงเทพมหานคร

............................
อาจารย์ของผมarticle

โดย นายสัตวแพทย์ภัทรพล มณีอร

พูดกันตรงๆ เลยว่ากว่าผมจะมาเป็นหมอสัตว์ป่าในวันนี้ นอกจากผมเองจะผ่านการเรียนรู้หลักสูตรสัตวแพทยศาสตรบัณฑิตมาแล้ว ในการเรียนรู้เรื่องสัตว์ป่าในห้องเรียนนั้นน้อยมาก โดยเฉพาะแนวทางของการทำงานในแบบที่เรียกว่า หมอสัตว์ป่า Wildlife Veterinarian เพราะไม่มีในตำรา มีแต่ในต่างประเทศ ซึ่งการนำมาใช้ในบ้านเราทั้งหมดนั้นไม่ได้ เพราะความแตกต่างในเรื่องของสภาพพื้นที่ ชนิดสัตว์ อุปกรณ์เครื่องมือ เป็นต้น แนวทางต่างๆ จึงต้องอาศัยคนรอบตัวของผมนี่แหละครับ เป็นอาจารย์

ไทยประสบความสำเร็จเพาะพันธุ์ "นกแว่นใต้article

ไทยประสบความสำเร็จงดงาม!! หลังจากรอคอยมาหลายปี ที่สุดสามารถเพาะพันธุ์นกแว่นใต้จนสำเร็จ ได้ทั้งลูกนกอายุ 2 สัปดาห์และไข่นกอายุ 3 วัน เผยเป็นนกเฉพาะถิ่น หาได้ยาก มีสีสันสวยงาม ทั้งโลกมีเพียงในภาคใต้ของไทยเท่านั้น แต่เหลือไม่กี่ร้อยตัว เพราะตลาดมืดต้องการสูง จึงถูกล่าอย่างหนัก แถมยังไข่เพียงครั้งละ 1 ฟอง ที่สุดจึงเกือบจะสูญพันธุ์ไปจากโลกนี้!!
 

เส้นทางแหล่งสีสันตะวันออก

เส้นทางแถบจังหวัดชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี และตราด นับเป็นเมืองที่มีความสำคัญทางด้านธุรกิจ บันเทิง อัญมณี ศิลปวัฒนธรรม โบราณสถานวัดวาอาราม การผลิตผลไม้และส่งออก

ทัศนคติของผู้คนarticle

มาตรการจัดการเส้นทางผ่านป่าเพื่อลดความสูญเสีย สามารถดำเนินการได้หลายวิธี แต่การปิดถนนเป็นมาตรการที่ถือว่ามีความรุนแรงมาก มาตรการปิดถนนสาธารณะสามารถมองได้ในหลายมิติ ...

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๒๕๙article

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๒๕๙ อยู่ในความดูแลของกรมทางหลวงเดิมเป็นเส้นทางสายความมั่นคงอยู่ในการควบคุมของ กองทัพบก โดยกรมทหารช่าง กองทัพบก ...

ถวายผ้าพระกฐินพระราชทาน

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โปรดเกล้าฯ พระราชทานผ้าพระกฐินให้ พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ ประธานกรรมการมูลนิธิอนุรักษ์ป่ารอยต่อ ๕ จังหวัด เพื่อเชิญไปทอดถวายยังที่ชุมนุมสงฆ์ ณ วัดสมานรัตนาราม อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา โดยมี ที่ปรึกษามูลนิธิฯ, กรรมการมูลนิธิฯ , อนุกรรมการฝ่ายต่าง ๆ ,หน่วยงานในพื้นที่ป่ารอยต่อ ๕ จังหวัด และพี่น้องประชาชนร่วมพิธี เมื่อวันจันทร์ที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๔.๐๐ นาฬิกา

การจัดสรรเวลาเพื่อพงไพรarticle

หลายภาคส่วนของสังคมได้ตระหนักถึงผลกระทบที่เกิดกับสัตว์ป่าซึ่งเป็นทรัพยากรส่วนกลางของสังคมที่สามารถเอื้อประโยชน์ต่อสังคมมนุษย์ทั้งทางตรงและทางอ้อมโดยได้ร่วมมือกันในการลดผลกระทบ เพื่อให้เกิดสันติสุขในป่าอ่างฤาไน ...

ภัยเงียบคุกคามสัตว์ป่าเขาอ่างฤาไนarticle

สัตว์ป่าประสบกับการคุกคามทางอ้อมที่มนุษย์เป็นผู้ก่อขึ้นอย่างไม่ได้ตั้งใจ ปัจจัยใดจะยิ่งใหญ่ไปกว่าการคุกคามที่เกิดจากการรุกคืบของขยะในพื้นที่ที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า...

หน้า 9/14
[ก่อนหน้า]   1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14  [ถัดไป]
[Go to top]